Tag: เฟด
“เงินเฟ้อจังหวะถัดไป” อาจลงยากขึ้นเพราะ…
อัตราเงินเฟ้อในจังหวะช่วงถัดไป ทำไมจึงมีความเป็นได้ที่จะลดลงโดยใช้ระยะเวลานานขึ้นมาก โดยหลายฝ่ายคาดว่าน่าจะต้องใช้เวลาไม่ต่ำกว่า 2-3 ปี?
เราไว้ใจเงินเฟ้อสหรัฐรอบนี้… ได้หมดใจยัง?
ที่ประเมินว่าธนาคารกลางสหรัฐจะหยุดขึ้นดอกเบี้ยแล้วนั้น ได้ไปไกลกว่าสิ่งที่เป็นจริงในโลกแห่งเงินเฟ้อสหรัฐไปแล้ว แต่ที่สนใจมากกว่า คือ เหตุผลหรือปัจจัยใดที่ทำไมให้มองเป็นเช่นนั้น
ฟังมุมมองกรรมการเฟด ผ่านเลคเชอร์ Econ
ฟังเลคเชอร์ด้านเศรษฐศาสตร์เบื้องต้นจากคริส วาลเลอร์ สมาชิกของคณะกรรมการธนาคารกลางสหรัฐหรือเฟด ซึ่งต้องบอกว่าสามารถบอกอะไรบางอย่างเกี่ยวกับมุมมองของเฟดได้
เป้าหมายเศรษฐกิจ:‘เงินเฟ้อ’ หรือ ‘จีดีพีโต’ ดีกว่า?
ผู้นำประเทศของเราตั้งเป้าหมายให้อัตราเติบโตจีดีพีของเศรษฐกิจไทยเติบโต 5% ต่อปี เป็นเวลา 4 ปี ทำให้เกิดคำถามในใจผมขึ้นมาว่าการตั้งเป้าหมายทางเศรษฐกิจไทย ควรจะใช้แนวทาง ‘อัตราเงินเฟ้อเป็นเป้าหมาย’ หรือ ‘อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นเป้าหมาย’ น่าจะเหมาะสมกว่ากัน?
บทสรุปประชุม 3 แบงก์ชาติหลัก ก่อน Q4
บทความนี้ จะขอสรุปผลลัพธ์และควันหลงต่างๆหลังจากที่ได้ธนาคารกลางหลัก 3 แห่งประชุมกันจนเสร็จครบเรียบร้อยแล้ว
จาก ECB สู่ สัปดาห์แห่ง 3 แบงก์ชาติหลัก
พบกับมุมมองสัปดาห์สำคัญของ 3 แบงก์ชาติหลักในสัปดาห์นี้กัน
“10 ข้อคิดสำหรับนักลงทุน” หลังประชุมเฟดแจ็คสันโฮล
บทความนี้ จะขอสรุปประเด็นหลักที่นักลงทุนควรต้องทราบ ภายหลังที่เจย์ พาวเวล ประธานธนาคารกลางสหรัฐหรือเฟด กล่าวสุนทรพจน์สำคัญแห่งปี 2023 ในการประชุมนายธนาคารกลางชั้นนำของโลกที่แจ็คสันโฮล รัฐไวโอมิ่ง สหรัฐอเมริกา
ข้อคิด 10 ประการ ต่อ เฟด กนง. และตลาดหุ้นไทย ณ กลาง ปี 2023
คณะกรรมการนโยบายการเงินของบ้านเราจะมีการประชุมนโยบายการเงินนัดสำคัญในต้นเดือนสิงหาคมหลังประชุมเฟดราวหนึ่งสัปดาห์ บทความนี้ จะขอแชร์ความเห็นว่ามีอะไรบ้าง ที่น่าจะสามารถเป็นข้อสรุปของท่าทีและมุมองจากเฟดและกนง.ต่อกลยุทธ์การลงทุนตลาดหุ้นไทย ณ ตรงนี้
คริส วอลเลอร์ : ว่าที่ Dissenter ในเฟดโหวต – Part 2
อย่างที่ผมเคยเขียนบทความ ‘คริส วอลเลอร์ : ว่าที่ Dissenter ในเฟดโหวต’ เมื่อ 3 เดือนก่อนว่า การประชุมเฟดน่าจะเริ่มมีเสียงโหวตแบบเสียงแตกในปีนี้ โดยผมมองว่า คริส วอลเลอร์ สมาชิกเฟดน่าจะเป็นคนๆนั้นในอนาคต ปรากฎว่าเมื่อ 2-3 สัปดาห์ที่แล้ว ดูแล้วเหมือนจะเป็นเช่นนั้น
ได้เวลาเปลี่ยน…แนวการบริหารเงินเฟ้อ?
ระดับอัตราเงินเฟ้อเป้าหมาย (Inflation Target) ที่มีความเหมาะสมกับโลกหลังยุคโควิด ควรจะใช้หลักการเดิม คือตั้งเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อของธนาคารกลางไว้ที่ 2% หรือ ควรปรับเปลี่ยนไปจากนี้ดีกว่า บทความนี้จะมาพิจารณากัน