ไฮไลต์ Stress Test แบงก์สหรัฐ ปี 2023
สัปดาห์ที่ผ่านมา ธนาคารกลางสหรัฐได้ประกาศผลการทดสอบภาวะวิกฤต (Stress Test) สถาบันการเงินสหรัฐประจำปี 2023 ซึ่งจัดขึ้นปีละหนึ่งครั้ง ผมขอนำไฮไลต์ของผลการทดสอบนี้ มาเล่าให้ท่านผู้อ่านได้ทราบกัน
บทเรียนจากเงินเฟ้อ… ทำอย่างไรไม่ให้สายเกินแก้?
9 บทเรียนจากวิกฤตเงินเฟ้อในอดีตที่ผ่านมา ว่าจะทำอย่างไรเพื่อไม่ให้เหตุการณ์บานปลายไปกระทั่งออกจะสายจนเกินแก้ มีดังนี้
แบบทดสอบเงินเฟ้อ… ว่าจะพุ่งขึ้นเกินไปไหม?
มาพิจารณาแบบทดสอบต่างๆในการสกรีนว่าอัตราเงินเฟ้อที่เกิดขึ้น น่าจะมีโอกาสพุ่งขึ้นมากเกินไปในอนาคตไหม
โหด เลว ดี: ธนาคารกลางยุคปี 2023
ในวงการธนาคารกลางในช่วงกว่าขวบปีที่ผ่านมา ต้องถือว่ามีดราม่าอยู่อย่างค่อนข้างมากมาย หากให้ผมจัดกลุ่มผู้ว่าการธนาคารกลางทั่วโลกในช่วงนี้ ออกเป็นแนวเอเชียๆหน่อย ผมขอแบ่งกลุ่มเป็นแบบโหด เลว ดี ดังนี้
คริส วอลเลอร์ : ว่าที่ Dissenter ในเฟดโหวต – Part 2
อย่างที่ผมเคยเขียนบทความ ‘คริส วอลเลอร์ : ว่าที่ Dissenter ในเฟดโหวต’ เมื่อ 3 เดือนก่อนว่า การประชุมเฟดน่าจะเริ่มมีเสียงโหวตแบบเสียงแตกในปีนี้ โดยผมมองว่า คริส วอลเลอร์ สมาชิกเฟดน่าจะเป็นคนๆนั้นในอนาคต ปรากฎว่าเมื่อ 2-3 สัปดาห์ที่แล้ว ดูแล้วเหมือนจะเป็นเช่นนั้น
วิกฤตเพดานหนี้สหรัฐ 2023… เหมือนจะง่ายแต่ก็ไม่ง่าย
ที่ผ่านมา ราวๆทุก 2 ปี สหรัฐจะมีวิกฤตประเภทรัฐบาลสหรัฐก่อหนี้ไว้จนมูลค่ายอดสะสมหนี้ภาครัฐชนลิมิตของเพดานหนี้ที่ได้ตั้งเอาไว้ ผมขอตอบคำถามเกี่ยวกับประเด็นนี้
ภาพตลาดสหรัฐ หลังประชุมเฟดล่าสุด
บทความนี้ จะขอประเมินภาพตลาดสหรัฐ หลังประชุมธนาคารกลางสหรัฐหรือเฟดในต้นเดือนที่ผ่านมา กับ การล้มลงของ First Republic Bank ว่าจะเกิดอะไรต่อไปต่อจากนี้
อัลเบิร์ต เฮิรช์แมน: นักเศรษฐศาสตร์ดังแห่งซีรีส์ Netflix
ผมติดตามซีรีส์จากสตรีมมิ่งเป็นประจำ แล้วมาสะดุดกับซีรีส์ Netflix ที่ชื่อว่า Transatlantic เพราะมีตัวเอกของเรื่องเป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่ผมชื่นชอบมานานชื่อว่า อัลเบิร์ต เฮิรช์แมน
โลก Supply Side แห่งผู้ว่าแบงก์ชาติอังกฤษ
เจย์ พาวเวล ประธานเฟด ไม่เชื่อว่านโยบายการเงินจะมีผลต่อปัจจัยฝั่งอุปทาน ทว่า แอนดริว ไบร์เลย์ ผู้ว่าการธนาคารกลางอังกฤษกลับมีความเห็นที่แตกต่างออกไปอย่างไร ติดตามได้ในบทความนี้
3 ทหารเสือการเงินแห่งเมืองผู้ดี
ข่าวใหญ่จากอังกฤษว่าด้วยการจากไปของไนเจล ลอว์สัน อดีตรัฐมนตรีกระทรวงคลัง สมัยมาร์กาเร็ต แธชเชอร์ที่อยู่ในตำแหน่งนานสุดเป็นอันดับสอง รองจาก กอร์ดอน บราวน์ โดยในยุคนั้น ว่ากันว่ามี 3 ทหารเสือการเงินเมืองผู้ดี ดังนี้