‘ออสเตรเลีย’ ต้นแบบใหม่ ‘นโยบายการเงินยุคโควิด’
ธนาคารกลางออสเตรเลียว่าถือเป็นต้นแบบในการนำพาเศรษฐกิจออสเตรเลียให้ออกมาจากสภาพเศรษฐกิจหดตัวเมื่อ 1 ปีที่แล้ว ได้ค่อนข้างดีเป็นอันดับต้นๆของโลก รวมถึงตลาดหุ้นออสเตรเลียก็สามารถทะยานขึ้นสู่จุดที่ดัชนีไปแตะจุดสูงสุดตลอดกาล เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น บทความนี้ จะขออธิบายว่าทำได้อย่างไร
เจรจามาราธอน… แห่งยุโรป
เจรจามาราธอน... แห่งยุโรป
เหมือนทำท่าว่าการประชุมว่าด้วยเงินกองทุนฟื้นฟูเพื่อช่วยเหลือโควิดของยุโรป จะจบด้วยเงินช่วยเหลือแบบให้เปล่าที่ 3.9 แสนล้านยูโร สำหรับการเจรจาประเด็นเงินกองทุนขนาด 7.5 แสนล้านยูโร ซึ่งถือเป็นการเจรจาที่ใช้เวลายาวนานเป็นอันดับ 2 ในประวัติศาสตร์ของสภายุโรป
โดยบทความนี้ จะขอกล่าวถึงความสำคัญ กลุ่มต่างๆ และประเด็นหลักสำหรับการประชุมในครั้งนี้ รวมถึงทิศทางของยุโรปว่ามีความเสี่ยงมากน้อยแค่ไหนในช่วงนี้
เริ่มจาก คำถามแรก คือทำไมกองทุนนี้ถึงมีความสำคัญกับยุโรป?
คำตอบคือ หากประเมินผลกระทบจากโควิดต่อเศรษฐกิจ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างภูมิภาคต่างๆ จะพบว่ายุโรปถือเป็นภูมิภาคเดียวที่จีดีพีมีโอกาสจะหดตัวแบบตัวเลขสองหลัก ในขณะที่อัตราส่วนของมาตรการช่วยเหลือจากรัฐบาลและธนาคารกลางของยุโรปต่ำกว่าของทั้งสหรัฐและญี่ปุ่นกว่า 2 เท่าตัว โดยยุโรปมีการกระตุ้นเศรษฐกิจและการเงินส่วนใหญ่...
ท่าที 3 ธนาคารกลางหลัก หลังโควิด-19
สุดสัปดาห์ที่ผ่านมา ผมได้มีโอกาสร่วมเป็นหนึ่งในวิทยากรสำหรับงานสัมมนาหัวข้อ “เจาะลึกผลกระทบวิกฤตเศรษฐกิจในมุมมองเศรษฐศาสตร์และมุมมองนักวิเคราะห์”ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ผมจึงขอแชร์เนื้อหาในงาน รวมถึงในส่วนที่อัพเดตเพิ่มเติม ดังนี้
เมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมา ได้มีการประชุมคณะกรรมการของธนาคารกลางญี่ปุ่นหรือบีโอเจ ผลการประชุมสรุปได้ว่า
1.ด้วยมติเอกฉันท์ ทางบีโอเจ ตัดสินใจเพิ่มมูลค่าการซื้อหุ้นกู้ภาคเอกชนและ Commercial Paper ทั้งหมด จาก 2 ล้านเยน มาเป็น 20 ล้านเยน โดยเน้นการซื้อช่วงไตรมาส 2 และ 3 ปีนี้...
วิกฤตศรัทธา…. ของตุรกี
เหตุผลที่ตุรกีได้กลายมาเป็นไฮไลต์ให้ดราม่ากันอีกรอบ เริ่มต้นมาจาก บทวิเคราะห์ของธนาคารกลางยุโรป ว่าให้ระวังหนี้ของแบงก์ในยุโรปที่มีหนี้ของภาคเอกชนตุรกีอยู่ไม่น้อย ผนวกกับกรณีข้อพิพาททางการเมืองระหว่างสหรัฐกับตุรกี
Trade War จะจบเมื่อไหร่ & แรงสุดแค่ไหน
สงครามการค้าหรือ Trade War แม้ดูเผินๆแล้ว จะไม่ได้ใหญ่โตมากเหมือนวิกฤตซับไพร์มและเหมือนจะแค่เป็นการบลัฟกันระหว่างสหรัฐกับจีน แต่ล่าสุดเริ่มมีขอบเขตกว้างไปถึงการห้ามมิให้จีนและประเทศอื่นๆเข้ามาซื้อเทคโนโลยีของสหรัฐ
บทความนี้ จะขอตอบคำถามถึงการสิ้นสุดและผลกระทบจากสงครามการค้าดังกล่าว
เศรษฐกิจญี่ปุ่น..ยังไปต่อไหม
เมื่อกลางสัปดาห์ ทางการญี่ปุ่นได้ประกาศตัวเลขจีดีพีล่าสุดประจำไตรมาสที่หนึ่ง ปรากฎว่าหดตัวร้อยละ 0.2 ซึ่งถือเป็นครั้งแรกในรอบ 2 ปี คำถามที่ผมได้รับจากบนักลงทุนตราสารกองทุนรวมของญี่ปุ่นคือเศรษฐกิจญี่ปุ่นจะชะลอตัวลงอีกหรือเปล่า
ญี่ปุ่น ปี 2018 ยังมี Political Risk
หากจะถามว่าการลงทุนในญี่ปุ่นในปี 2018 น่าสนใจไหม หลายคนอาจมองว่าน่าสนใจ ทว่าความเสี่ยงที่มักจะอยู่คู่กับญี่ปุ่นมาตลอดคือความเสี่ยงทางการเมืองในประเทศ
Macro Moment 2018 ฉบับธนาคารกลาง
เป็นธรรมเนียมของคอลัมน์ที่ทุกช่วงสิ้นปี จะมีการออก Macro Moment ว่าด้วยการคาดการณ์ทางเศรษฐกิจในปีหน้า สำหรับเวอร์ชั่นปี 2018 เป็นดังนี้
ว่าที่ผู้ว่าแบงก์ชาติจีนคนใหม่?
การตัดสินใจในหน้างานที่ราคาหลักทรัพย์ มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยธนาคารกลางเป็นผู้ชี้ขาดเอง เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง
อนาคตจีนยุคประธาน สี จิ้น ผิง
ผู้นำของจีนได้แบ่งการบรรลุวัตถุประสงค์ของความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ‘เส้นทางหรือกระบวนการ’ และ ‘เป้าหมาย’