Saturday, November 23, 2024

โนเบลเศรษฐศาสตร์ : แนวคิดบริหารพอร์ตหุ้น&กองทุนรวม

ขอแสดงความยินดีกับผู้คว้ารางวัลโนเบลเศรษฐศาสตร์ ในปี 2021 ทั้ง 3 ท่าน อันประกอบด้วย โจชัว แองกริสต์, กุยโด อิมเบนส์ และเดวิด คาร์ด บทความนี้ขอพาไปพบกับบรรดาผู้คว้ารางวัลโนเบลเศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดบริหารพอร์ตหุ้นและกองทุนรวม

‘เงินเฟ้อ’ ช็อตต่อไป… ในมุมของไอเอ็มเอฟ

หากไม่นับศึกช้างชนช้างคู่หยุดโลกระหว่างจีนกับสหรัฐแล้วนั้น ในปี 2022 คงไม่มีปัจจัยใดที่น่าจะมีความสำคัญต่อตลาดหุ้นและตลาดการเงินทั่วโลกได้ เท่ากับประเด็นของแนวโน้มเงินเฟ้อ บทความนี้ จะขอมองจากในมุมมองของไอเอ็มเอฟ

ทำไมนโยบายศก.ใหม่ญี่ปุ่น นำมาสู่  Kishida Shock?

บทความนี้ จะมาพิจารณาโฟกัสนโยบายเศรษฐกิจของนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นท่านใหม่ ฟูมิโอ คิชิดะ พร้อมผลตอบรับจากตลาดหุ้นญี่ปุ่น เซกเตอร์ต่างๆที่น่าจะได้รับผลดี และ กองทุนรวมญี่ปุ่นที่น่าสนใจ

เมื่อเจย์ พาวเวล : “ลดความแน่นอนของ QE Tapering

ถ้าจะมีประโยคเดียวที่จะสรุปผลการประชุมนัดสำคัญของธนาคารกลางสหรัฐหรือเฟด เมื่อคืนวันที่ 22 กันยายน 2021 คือ เจย์ พาวเวล ประธานเฟด กังวลว่าจะเกิดความวุ่นวายในตลาดหุ้นจากการลดการซื้อพันธบัตรสหรัฐหรือ Taper Tantrum เหมือนเมื่อปี 2013

ดอกเบี้ยพันธบัตรจะเป็นอย่างไร? หลัง QE Tapering

หลังจากธนาคารกลางสหรัฐได้ประกาศนโยบายผ่อนคลายเชิงปริมาณ QE เมื่อราวปีครึ่งที่แล้วเพื่อสู้กับวิกฤติโควิด ว่ากันว่า ก่อนสิ้นปีนี้ ก็น่าจะถึงเวลาที่เฟดจะเปลี่ยนโหมดมาสู่การลดขนาดของ QE (QE Tapering) บทความนี้ จะขอตอบว่าจะมีผลต่อดอกเบี้ยพันธบัตรสหรัฐอย่างไร

ลงทุนอย่างไร หากนโยบายการเงินไทยผ่อนคลายกว่าเดิม?

บทความนี้ จะขอเสนอมุมมองว่าเหตุใดแนวทางการใช้นโยบายการคลังแบบเข้มข้น จึงได้รับความนิยมจากวงการวิชาการในช่วงนี้ ท้ายสุด จะคาดการณ์ท่าทีต่อไปของนโยบายการเงินแบงก์ชาติต่อวิกฤตโควิด รวมถึงมองว่าควรลงทุนในเซกเตอร์ไหนและหุ้นใดสำหรับตลาดหุ้นไทยในช่วงถัดไป

‘หยิน-หยาง’ แห่ง ‘เศรษฐกิจยุโรป’

มาริโอ ดรากิ อดีตประธานธนาคารกลางยุโรป ถือเป็นกูรูด้านหยิน ส่วน คริสติน ลาการ์ด ประธานธนาคารกลางยุโรปในปัจจุบัน ถือเป็นกูรูด้านหยาง ใน ‘หยิน-หยาง’ แห่ง ‘เศรษฐกิจยุโรป’

ภาพเศรษฐกิจ & การลงทุน ครึ่งหลังปี 2021

เมื่อก้าวมาถึงกลางปี 2021 ได้เวลามาพิจารณาภาพเศรษฐกิจและการลงทุนของโลก สำหรับในช่วงครึ่งหลังปี 2021 หลังจากที่ผมเคยคาดการณ์เมื่อต้นปีนี้ ว่าตลาดของประเทศพัฒนาแล้วน่าจะดูดีกว่าตลาดเกิดใหม่ ในครึ่งแรกของปี 2021 ซึ่งก็เป็นจริงในเวลาต่อมา

ทดสอบวิกฤต ‘สีเขียว’ ของ คริสติน ลาการ์ด

ปี 2021 เราได้เห็นความชัดเจนในมิติของเศรษฐกิจสีเขียวของโลกว่า ธนาคารกลางยุโรปหรืออีซีบีภายใต้การนำของ คริสติน ลาการ์ด ประธานอีซีบี กำลังจะเป็นธนาคารกลางแห่งแรกของโลกที่จะนำแนวคิด Green Economy มาประยุกต์ใช้

‘ค่าเงินบาท’ จะอ่อนไปอีกแค่ไหน?

ในช่วงที่โควิด-19 กำลังพีคสุดๆ ในบ้านเรา ณ ตรงนี้ ยังมีอีกหนึ่งปรากฏการณ์เกิดขึ้น นั่นคือ ค่าเงินบาทที่อ่อนค่าแบบรวดเดียวอย่างรวดเร็วฉับพลัน บทความนี้ จะมองว่าค่าเงินบาทจะอ่อนสุดไปที่เท่าไหร่และเหตุผลที่ทำให้ค่าเงินบาทในช่วงนี้

MOST POPULAR